THE GREATEST GUIDE TO จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม

The Greatest Guide To จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม

The Greatest Guide To จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม

Blog Article

คำบรรยายภาพ, หนึ่งในกฎกติกาใหม่ที่กำหนดขึ้นในสมัย จอมพล ป.

พิมพ์มาดา เผยความน่ากลัวของโรคมะเร็ง มันพรากคนที่เรารัก

เขาเสริมว่า เมื่อลองนำคำว่า “คู่ชีวิต” กลับไปเทียบเคียงกับในสมัยที่มีการผลักดันร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต มีการอธิบายว่า “คู่ชีวิต หมายถึง บุคคลสองคนซึ่งเป็นเพศเดียวกันโดยกำเนิด และได้จดทะเบียนคู่ชีวิตตาม พ.

ถูกพิจารณาพร้อมกัน โดยลงคะแนนแยกเป็นรายฉบับ

ขณะที่วรรณกรรมและวรรณคดีในยุคสุโขทัยและสมัยอยุธยามีส่วนหนึ่งที่ระบุว่า การลอบเป็นชู้ของชายหญิง เมื่อตายแล้วเกิดใหม่ จะเกิดเป็นกะเทยในชาติหน้า ส่วนสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการบัญญัติโทษในกฎมณเฑียรบาล เกี่ยวกับการเล่นสวาทของผู้หญิงและผู้ชายในราชสำนัก แต่การเล่นสวาทของผู้มีเพศเดียวกันในวังหรือนอกวัง ระหว่างชนชั้นนำกับสามัญชน หรือระหว่างชนชั้นนำด้วยกันเอง กลับไม่ได้ถูกรังเกียจหรือมีการลงโทษเป็นกิจลักษณะแต่อย่างใด

บทความดังกล่าวยังบอกด้วยว่า ไม่สามารถเหมารวมได้ว่าการแสดงบทบาทข้ามเพศในมหรสพเหล่านั้นเป็นพื้นที่ของกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศเสมอไป แต่มันอาจเป็นการแสดงศักยภาพของนักแสดงที่ต้องการทำให้เห็นว่าตนเองสามารถรับบทบาทใดก็ได้ เพื่อพิสูจน์ความสามารถของนักแสดงเอง โดยยกตัวอย่างบทสัมภาษณ์ของ รศ.

สิทธิและความคุ้มครองทากฎหมายที่ คู่สมรส จะได้รับหลังการจดทะเบียนสมรสเท่าเทียม

อีกความแตกต่างของร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมของภาคประชาชน คือ การแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ (ป.พ.พ.) ที่เกี่ยวกับบิดา มารดา และบุตร ที่ร่างของภาคประชาชนเสนอว่า ให้เปลี่ยนถ้อยคำที่ครอบคลุมผู้มีความหลากหลายทางเพศ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายสมรสเท่าเทียม ขณะที่ร่างกฎหมายของรัฐบาลและพรรคก้าวไกล แก้ไขถ้อยคำในกฎหมาย ป.พ.พ. เพียงบางส่วน

ปัจจุบัน ธนาคาร/สถาบันทางการเงินมีความเข้มงวดในการพิจารณาสินเชื่อมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงในการก่อให้เกิดหนี้เสีย ผู้บริโภคจึงควรเตรียมความพร้อมทางการเงิน โดยมีวินัยในการเก็บออมเงิน ลดภาระหนี้ที่ไม่จำเป็น เพื่อสร้างสภาพคล่องทางการเงินที่ดีและแสดงความสามารถในการชำระหนี้ ซึ่งจะช่วยให้การยื่นกู้ซื้อบ้าน/คอนโดฯ ผ่านไปได้ด้วยดี และได้วงเงินที่ครอบคลุมเพียงพอในการซื้อที่อยู่อาศัยที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตได้มากขึ้น

ในประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกัน พล.อ.วรพงษ์ สง่าเนตร แปรญัตติไว้ โดยขอให้เพิ่มคำว่า “สามีและภริยา” เข้าไปพร้อมกับคำว่า “คู่สมรส” โดยให้เหตุผลว่า การแก้กฎหมายโดยตัดคำว่าสามีและภริยาออกไป เป็นการ “เซาะกร่อนบ่อนทำลายสถาบันครอบครัวอย่างรุนแรงที่สุด”

ขณะที่ละครนอกมักแสดงบทที่เน้นความตลกขบขัน ภาษามีความโผงผาง ชัดเจน เน้นอารมณ์ หรือมีการตบตีแย่งชิงซึ่งดูไม่สำรวม นักแสดงจึงใช้ผู้ชายเป็นหลักเพื่อเล่นบทบาทต่าง ๆ เนื่องจากผู้หญิงในสมัยนั้นถูกกำหนดว่าต้องรักนวลสงวนตัวและสำรวมกิริยา ส่วนละครชาตรีซึ่งมีลักษณะเป็นละครเร่ ย้ายสถานที่การแสดงอยู่เสมอ การใช้นักแสดงผู้ชายจึงมีความคล่องตัวมากกว่า เช่นเดียวกันกับโขนที่ต้องแสดงการสู้รบ จึงมักใช้ทหารมหาดเล็กหรือกลุ่มข้าราชบริพารในราชสำนักมาแสดง

เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นมิตรกับผู้มีความหลากหลายทางเพศ มากกว่าชาติอื่นในเอเชีย ?

"ให้บุพการีตามประมวลกฎหมายนี้ ถือเป็นบุพการีที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง กฎหมาย และระเบียบอื่นใดที่บัญญัติให้สิทธิและหน้าที่แก่ "บุพการี" หรือ "บิดามารดา" หรือ คำอื่นใดในลักษณะเดียวกัน"

นอกจากนั้นในมุมมองเรื่องหมั้น จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม ที่แต่เดิมให้ชายโดยกำเนิดเท่านั้นที่จะเป็นผู้รุกเริ่มนำของหมั้นไปหมั้นหญิง ก็กลับกลายเป็นว่าใครใคร่หมั้นก็หมั้น ไม่มีข้อที่จะต้องบังคับกะเกณฑ์ว่าเพศชายต้องเป็นฝ่ายรุกเริ่ม ซึ่งหมายความว่า กฎหมายให้อิสระในการกำหนดชีวิตเป็นสถาบันครอบครัวของบุคคลโดยไม่คำนึงเพศ แม้กระทั่งเรื่องฝ่ายเริ่มต้นเข้าหาอีกฝ่ายเพื่อการมอบของหมั้น ก็ไม่มีการกำหนดเจาะจงเพศอีกต่อไป

Report this page